บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2020

เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ (Database Online Search)

รูปภาพ
  เทคนิควิธีการสืบค้น     1. การสืบค้น (Searching your search results)     2. การคัดกรองผลการสืบค้น (Refining your search results)     3. การวิเคราะห์ผลการสืบค้น (Analyzing your search result)     4. การจัดการผลการสืบค้น (Managing your search result) 1. การสืบค้น (Searching your search results)                1.1 การเตรียมคีย์เวิร์ด (Preparing your keywords)                      1.1.1 ควรจะเป็นคำนาม (Noun)                      1.1.2 คำพ้องความหมาย คำเหมือนคำคล้าย (Synonym) เช่น hypertension กับ high blood pressure หรือ woman female lady girl เป็นต้น ตัวอย่างการเตรียมคีย์เวิร์ด เพื่อคัดเลือกวรรณกรรมที่เป็นงานวิจัยหลายประเภท              เรื่องที่ต้องการสืบค้น คือ              การบำบัดหรือจัดการอาการปวดหลังส่วนล่างแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง              อาการปวดแบบเฉียบพลัน acute pain              อาการปวดแบบเรื้อรัง chronic pain              หลัง Back              หลังส่วนล่าง low back              การจัดการ Management               1.2 การใช่เครื่องหมายช่วยในการสืบค้

ฐานข้อมูลออนไลน์ Fade1

รูปภาพ
                 การใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้นของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีรายละเอียดตามเอกสารแนบได้ดำเนินการจัดทำเทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้บริการในการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ให้กับผู้ใช้บริการทุกท่านได้ทราบ และสามารถนำไปใช้ในการสืบค้นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และฐานข้อมูลออนไลน์ Reference database ที่ให้บริการของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้จากหน้าเว็บไซต์ http://arit.npru.ac.th/ เว็บไซต์มหาวิทยาลัย :  https://www.npru.ac.th/index.php เว็บไซต์หน่วยงาน :  http://arit.npru.ac.th/index.php ประวัติผู้เขียน : นางสาวสุรีรัตน์ คล้ายสถาพร บรรณารักษ์ชำนาญการ สำนักวิทยบริการฯ  https://short.npru.ac.th/sureerat

การวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบบริการตอบคำถามเพื่อการค้นคว้าสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี

รูปภาพ
  การวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบบริการตอบคำถามเพื่อการค้นคว้าสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี การวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบบริการตอบคำถามเพื่อการค้นคว้าสำหรับนักศึกษาปริญญาตรีของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทการให้บริการตอบคำถามและระดับความต้องการการพัฒนาระบบบริการตอบคำถามเพื่อการค้นคว้าในด้านบริการ บุคลากร   ทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิง ครุภัณฑ์ และสถานที่   การวิจัยครั้งนี้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงสำรวจและปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อให้นักศึกษาสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ที่กำลังศึกษาวิชาบริการอ้างอิงสารนิเทศได้มีส่วนร่วมในการศึกษาครั้งนี้ด้วยประชากรที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักศึกษาปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ที่ใช้บริการตอบคำถาม ณ ชั้น 4 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ระหว่างวันที่ 1-30 ตุลาคม จำนวน 2 ,704  คน และสุ่มตัวอย่างแบบธรรมดาได้กลุ่มตัวอย่าง 373 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์ประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ คือ โปรแกรม SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่   ค่าสถิติร้อยละ   ค่าเฉลี่ย